วันพฤหัสบดีที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2552
วันพุธที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2552
นิทานเรื่อง ลูกหมู 4 ตัว
กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว ได้มี ลุก หมู 4 ตัว ที่เป็นเพื่อนกันตั้งแต่เด็กอาศัยอยู่บ้านเดียวกัน
เช้าวันหนึ่งลูกหมู 4 ตัว เกิดมีความคิดที่จะแข่นขันกันเก็บข้าวโพด
ว่าใครจะเก็บได้มากกว่ากัน ถ้าใครเก็บได้มากที่สุดก็จะชนะ
ดั้งนั้นลูกหมู ทั้ง 4 ตัวก็ได้แข่งขันกันเก็บข้าวโพด
ลูกหมูตัวที่ 1 เก็บได้ 2 ลูก
ลูกหมูตัวที่ 2 เก็บได้ 3 ลูก
ลูกหมูตัวที่ 3 เก็บได้ 5 ลูก
ลูกหมูตัวที่ 4 เก็บได้ 10 ลูก
ดังนั้น ลูกหมูตัวที่ 4 ก็เป็นผู้ชนะไป
เช้าวันหนึ่งลูกหมู 4 ตัว เกิดมีความคิดที่จะแข่นขันกันเก็บข้าวโพด
ว่าใครจะเก็บได้มากกว่ากัน ถ้าใครเก็บได้มากที่สุดก็จะชนะ
ดั้งนั้นลูกหมู ทั้ง 4 ตัวก็ได้แข่งขันกันเก็บข้าวโพด
ลูกหมูตัวที่ 1 เก็บได้ 2 ลูก
ลูกหมูตัวที่ 2 เก็บได้ 3 ลูก
ลูกหมูตัวที่ 3 เก็บได้ 5 ลูก
ลูกหมูตัวที่ 4 เก็บได้ 10 ลูก
ดังนั้น ลูกหมูตัวที่ 4 ก็เป็นผู้ชนะไป
สัปดาห์ที่ 2 ในการเรียน
วันนี้อาจารย์ได้สอนเรื่องการทำบล็อกและบอกถึงรายระเอียดในการทำบล็กว่าต้องใส่ข้อความอะไรลงไปในบล็อกบ้าง สิ่งที่ได้ในการเรียนวิชานี้ก็คือได้ศึกษาบทความและงานวิจัยสำหรับเด็กปฐมวัย และได้ใช้ความคิดของตัวเองในการแต่งเพลงและแต่งนิทาน
สัปดาห์ที่ 3 ในการเรียน
วันนี้ไม่ได้เข้าเรียนค่ะแต่ก็รู้ว่าอาจารย์พูดถึงเรื่องทฤษฎีของเพีย์เจย์
เพราะได้เข้าไปดูบล็อกของเพื่อน
เพราะได้เข้าไปดูบล็อกของเพื่อน
สัปดาห์ที่ 4 ในการเรียน
วันนี้อาจารย์ได้แนะนำเรื่องของบล็อกพร้อมบอกให้แก้ไขบล็อกของตัวเองให้ถูกต้องสอนเรื่องการนับจำนวนมาก-น้อยและปริมาณ ขนาด เล็ก-ใหญ่ สูง-เตี้ย ค่าของเงินก็คือสอนให้เด็กรู้ค่าของเงินในการซื่อของ ความเร็วคือการวัดก็คือระหว่าง ไม่ว่าจะเป็นการเดินการวิ่ง อุณหภมิ ร้อน-เย็น-หนาว การหันซ้ายขวานับมาแต่งเป็นเพลงก็ได้ มาตราฐานการวัดในระบบเมตริก - จะให้เด็กได้รู้คำศัพท์ที่สามารถใช้ในชีวิตประจำวัน การวัดเรื่องของเวลา หนึ่งชั่วโมง-หนึ่งเดื่อน-หนึ่งวัน-หนึ่งปี ลักษณะหลักสูตรที่ดีเน้นกระบวนการคิดรวบยอดให้เด็กเรียนรู้เรื่องการใช้ภาษา และอาจารย์ให้แก้ไขเรื่องของบทความคณิตศาสตร์และการแก้ไขเรื่องเกม
สัปดาห์ที่ 5 ในการเรียน
หลักในการสอนคณิตศาสตร์ครูปฐมวัยที่ดีนอกจากจะเข้าใจพัฒนาการเด็กธรรมขาติของการเรียนรู้ของเด็ก และขอบข่ายของหลักสูตรอย่างลึกซึ้งแล้ว ยังจะต้องเป็นผู้ที่รู้และเข้าใจหลักการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยอย่างดีด้วย เช่น
1.สอนให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน
2.เปิดโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ที่ทำให้ พบคำตอบด้วยตัวเอง
3.มีเป้าหมายและมีการวางแผนอย่างดี
4.เอาใจใส่ในเรื่องการเรียนรู้และลำดับขั้นตอนของการพัฒนาความคิดรวบยอดของเด็ก
5.ใช้วิธีการจดบันทึกพฤติกรรมหรือระเบียบพฤติการณ์เพื่อใช้ในการวางแผนการจัดกิจกรรม
6.ใช้ประโยชน์จากประสบการณ์เดิมของเด็ก
7.รู้จักใช้สถานการณ์ขณะนั้นที่เป็นประโยขน์
8.ใช้วิธีการสอดแทรกกับชีวิตจริงเพื่อสอนความคิดรวบยอดที่ยากได้
9.ใช้วิธีให้เด็กมีส่วนรวมหรือปฏิบัติการจริงเดียวกับตัวเลข
10.วางแผนส่งเสริมให้เด็กเรียนรู้ทั้งที่โรงเรียนและบ้านอย่างต่อเนื่อง
11.บันทึกปัญหาการเรียนรู้ของเด็กอย่างสม่ำเสมอเพื่อแก้ไขปรับ
12.คาบหนึ่งควรสอนเพียงความคิดรวบยอดเดียว
13.เน้นกระบวนการเล่นจากง่ายไปยาก
14.ครูควรสอนสัญลักษณ์ตัวเลขหรือเครื่องหมายเมื่อเด็กเข้าใจสิ่งเหล่านั้นแล้วการเตรียมความพร้อมเด็กให้เก่งคณิตศาสตร์นั้นจะต้องฝึกให้เด็กได้พัฒนาการทางสายตาก่อนเป็นอันดับแรกถ้าเด็กสามารถใช้สายตาในการจำแนกจัดแบ่งประเภทแล้ว เด็กจะมีปัญหาด้านการเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้หลักการสอนคณิตศาสตร์ ให้กับเด็กปฐมวัย
1.สอนให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน
2.เปิดโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ที่ทำให้ พบคำตอบด้วยตัวเอง
3.มีเป้าหมายและมีการวางแผนอย่างดี
4.เอาใจใส่ในเรื่องการเรียนรู้และลำดับขั้นตอนของการพัฒนาความคิดรวบยอดของเด็ก
5.ใช้วิธีการจดบันทึกพฤติกรรมหรือระเบียบพฤติการณ์เพื่อใช้ในการวางแผนการจัดกิจกรรม
6.ใช้ประโยชน์จากประสบการณ์เดิมของเด็ก
7.รู้จักใช้สถานการณ์ขณะนั้นที่เป็นประโยขน์
8.ใช้วิธีการสอดแทรกกับชีวิตจริงเพื่อสอนความคิดรวบยอดที่ยากได้
9.ใช้วิธีให้เด็กมีส่วนรวมหรือปฏิบัติการจริงเดียวกับตัวเลข
10.วางแผนส่งเสริมให้เด็กเรียนรู้ทั้งที่โรงเรียนและบ้านอย่างต่อเนื่อง
11.บันทึกปัญหาการเรียนรู้ของเด็กอย่างสม่ำเสมอเพื่อแก้ไขปรับ
12.คาบหนึ่งควรสอนเพียงความคิดรวบยอดเดียว
13.เน้นกระบวนการเล่นจากง่ายไปยาก
14.ครูควรสอนสัญลักษณ์ตัวเลขหรือเครื่องหมายเมื่อเด็กเข้าใจสิ่งเหล่านั้นแล้วการเตรียมความพร้อมเด็กให้เก่งคณิตศาสตร์นั้นจะต้องฝึกให้เด็กได้พัฒนาการทางสายตาก่อนเป็นอันดับแรกถ้าเด็กสามารถใช้สายตาในการจำแนกจัดแบ่งประเภทแล้ว เด็กจะมีปัญหาด้านการเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้หลักการสอนคณิตศาสตร์ ให้กับเด็กปฐมวัย
การเรียนการสอนวันที่ 19 กุมภาพัน 2552
วันนี้อาจารย์ได้พูดถึงการทำแผนว่าแผนที่ส่งไปนั้นผ่านหรือไม่แต่ในกลุ่มของดิฉันทำไม่ถูกต้องเลยต้องทำใหม่อาจารย์บอกให้แก้ตรงขั้นนำและอาจารย์ได้พูดถึงวันที่นัดสอบว่าจะสอบวันไหน
แผนการสอน
แผนการสอนที่ 1
เรื่อง ลักษณะของฝรั่ง
ผู้สอน นาวสาวทิตติยา เข็มภูเขียว
เนื้อหา
สอนลักษณะของฝรั่งให้เด็กรู้จักเรื่องสี ขนาด จำนวน การนับ ฝรั่ง
อุปกรณ์
1.ฝรั่ง 10 ลูก
2.ตะกร้า 4 ใบ
ขั้นตอนการทำกิจกรรม
1. ครูนำฝรั่งขึ้นมา 2 ลูกและถามเด็กๆว่า เด็กรู้จักสิ่งที่ครูนำมาหรือไม่
2. ครูถามเด็กๆ ต่อไปว่า ฝรั่ง 2 ลูกนี้มีลักษณะอย่างไร
3. แบ่งนักเรียนออกเป็น 2 กลุ่มเท่า ๆ กัน
4. ครูวางข้อตกลงและกติกาการเล่นเกมโดย
4.1 ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มยืนเรียงแถวตอนลึกโดยมีตะกร้าฝรั่งวางไว้หัวแถว และวางตะกร้าเปล่าออกไป 5 เมตร
4.2 ครูเป่านกหวีดให้สัญญาณ แล้วให้เด็กคนที่อยู่หัวแถวแต่และแถวหยิบฝรั่งที่อยู่ในตะกร้าที่อยู่หัวแถวไปใส่ในตะกร้าอีกใบที่เตรียมไว้และวิ่งกับไปหัวแถวใหม่และคนที่ 2 และคนต่อ ๆ ไปก็ทำไปเรื่อยๆ จนกว่าฝรั่งจะหมดตะกร้า
4.3 ถ้าใครทำฝรั่งหลุดมือต้องวิ่งกลับมาเอาฝรั่งลูกใหม่มาใส่ตะกร้าแทน
4.4 ทีมใดนำฝรั่งใส่ตะกร้าได้หมดก่อนทีมนั้นเป็นฝ่ายชนะ
4.5 จากนั้นให้แต่ละทีมนับดูว่าฝรั่งในตะกร้าของตัวเองมีกี่ลูก
เรื่อง ลักษณะของฝรั่ง
ผู้สอน นาวสาวทิตติยา เข็มภูเขียว
เนื้อหา
สอนลักษณะของฝรั่งให้เด็กรู้จักเรื่องสี ขนาด จำนวน การนับ ฝรั่ง
อุปกรณ์
1.ฝรั่ง 10 ลูก
2.ตะกร้า 4 ใบ
ขั้นตอนการทำกิจกรรม
1. ครูนำฝรั่งขึ้นมา 2 ลูกและถามเด็กๆว่า เด็กรู้จักสิ่งที่ครูนำมาหรือไม่
2. ครูถามเด็กๆ ต่อไปว่า ฝรั่ง 2 ลูกนี้มีลักษณะอย่างไร
3. แบ่งนักเรียนออกเป็น 2 กลุ่มเท่า ๆ กัน
4. ครูวางข้อตกลงและกติกาการเล่นเกมโดย
4.1 ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มยืนเรียงแถวตอนลึกโดยมีตะกร้าฝรั่งวางไว้หัวแถว และวางตะกร้าเปล่าออกไป 5 เมตร
4.2 ครูเป่านกหวีดให้สัญญาณ แล้วให้เด็กคนที่อยู่หัวแถวแต่และแถวหยิบฝรั่งที่อยู่ในตะกร้าที่อยู่หัวแถวไปใส่ในตะกร้าอีกใบที่เตรียมไว้และวิ่งกับไปหัวแถวใหม่และคนที่ 2 และคนต่อ ๆ ไปก็ทำไปเรื่อยๆ จนกว่าฝรั่งจะหมดตะกร้า
4.3 ถ้าใครทำฝรั่งหลุดมือต้องวิ่งกลับมาเอาฝรั่งลูกใหม่มาใส่ตะกร้าแทน
4.4 ทีมใดนำฝรั่งใส่ตะกร้าได้หมดก่อนทีมนั้นเป็นฝ่ายชนะ
4.5 จากนั้นให้แต่ละทีมนับดูว่าฝรั่งในตะกร้าของตัวเองมีกี่ลูก
แผนการสอนที่ 2
เรื่อง ส่วนประกอบของฝรั่ง
ผู้สอน นาวสาวสะกาวเดือน สงค์มา
เนื้อหา
ให้เด็กรู้ว่าฝรั่งมีส่วนประกอบ คือ เปลือก เนื้อ เมล็ด
อุปกรณ์
1. ฝรั่ง 2 ลูก
2.มีด
3.เขียง
4.จาน
ขั้นตอนการทำกิจกรรม
1 .ครูทบทวนการสอนครั้งที่แล้ว (ทบทวนจากคนที่ 1โดยการร้องเพลง)
2.ครูใช้คำถามว่าฝรั่งมีส่วนประกอบอะไรบ้าง
3.ครูใช้คำถามเช่น ข้างนอกนี้เรียกว่าอะไร
4.จบด้วยภาพหรือคำคล้องจอง
เรื่อง ส่วนประกอบของฝรั่ง
ผู้สอน นาวสาวสะกาวเดือน สงค์มา
เนื้อหา
ให้เด็กรู้ว่าฝรั่งมีส่วนประกอบ คือ เปลือก เนื้อ เมล็ด
อุปกรณ์
1. ฝรั่ง 2 ลูก
2.มีด
3.เขียง
4.จาน
ขั้นตอนการทำกิจกรรม
1 .ครูทบทวนการสอนครั้งที่แล้ว (ทบทวนจากคนที่ 1โดยการร้องเพลง)
2.ครูใช้คำถามว่าฝรั่งมีส่วนประกอบอะไรบ้าง
3.ครูใช้คำถามเช่น ข้างนอกนี้เรียกว่าอะไร
4.จบด้วยภาพหรือคำคล้องจอง
หน่วยฝรั่ง
กิจกรรมฝรั่งหรรษา
จำแนก.
รูปร่าง
-กลม - เรียว – เล็ก - ใหญ่.
สี
- เขียว - เหลือง - เขียวแก่ - เขียวอ่อน.
รสชาติ
- หวาน - เปรี้ยว - จืด - หวานอมเปรี้ยว
การนับ
-ให้เด็กนับฝรั่งในตะกร้า
-ให้เด็กนับอุปกรณ์ที่ใชัทำน้ำฝรั่ง
-ให้เด็กนับฝรั่งที่มีลักษณะกลม และเรียวตัวเลข
- ให้เด็กนำตัวเลขมาใส่หลังจากนับฝรั่ง
การจับคู่
- ให้เด็กจับคู่ฝรั่งที่มีขนาด เท่ากัน
- ให้เด็กจับคู่ฝรั่งที่มีสีต่างกัน
- ให้เด็กจับคู่ฝรั่งที่มีสีหมือนกัน
- ให้เด็กจับคู่ฝรั่งที่ไม่มีขนาดเท่ากันการจัดประเภท
- ให้เด็กแยกฝรั่งที่มีสีเหมือนกัน
- ให้เด็กแยกฝรั่งที่มีสีไม่เหมือนกัน
- ให้เด็กแยกขนาดของฝรั่ง เล็ก- ใหญ่
การเปรียบเทียบ
- ให้เด็กเปรียบเทียบฝรั่งที่มีขนาดเล็กและฝรั่งที่มีขนาดใหญ่
-ให้เด็กเปรียบเทียบสีของฝรั่ง สีเขียว – เหลือง
- ให้เด็กเปรียบเทียบผิวของฝรั่ง ขุรขะ – เรียบ
- การจัดลำดับ
- ให้เด็กเรียงลำดับฝรั่งที่มีขนาดเล็กสุดไปหาฝรั่งที่มีขนาดใหญ่สุด
- ให้เด็กเรียงลำดับฝรั่งที่มีขนาดใหญ่สุดไปหาฝรั่งที่มีขนาดเล็กสุดรูปทรงและเนื้อที่
- ให้เด็กแยกฝรั่งที่ลักษณะกลม - เรียว
การวัด
- ให้เด็กเปรียบเทียบฝรั่งลูกไหนหนัก ลูกไหนเบากว่ากัน
- ให้เด็กวัดเส้นรอบลูกฝรั่ง ว่าแต่ละลูกมีขนาดเท่าได
เซต
- ครูบอกนักเรียนว่าฝรั่งมี 2 ประเภท คือฝรั่งธรรมดาและฝรั่งขี่นกเศษส่วนการทำตามแบบ หรือรวดราย
- ให้แด็กแยกฝรั่งที่มีผิวเรียบและผิวขุรขะออกจากกัน
- ให้เด็ก 4 คนต่อฝรั่ง 1 ลูก และแบ่งให้เท่าๆกันการอนุรักษ์
- ให้เด็กเสนอว่าจะเก็บฝรั่งแบบใดคือจะแช่อิ่ม จะดอง หรือ หรือจะเก็บไว้ในที่เย็น
กิจกรรมฝรั่งหรรษา
จำแนก.
รูปร่าง
-กลม - เรียว – เล็ก - ใหญ่.
สี
- เขียว - เหลือง - เขียวแก่ - เขียวอ่อน.
รสชาติ
- หวาน - เปรี้ยว - จืด - หวานอมเปรี้ยว
การนับ
-ให้เด็กนับฝรั่งในตะกร้า
-ให้เด็กนับอุปกรณ์ที่ใชัทำน้ำฝรั่ง
-ให้เด็กนับฝรั่งที่มีลักษณะกลม และเรียวตัวเลข
- ให้เด็กนำตัวเลขมาใส่หลังจากนับฝรั่ง
การจับคู่
- ให้เด็กจับคู่ฝรั่งที่มีขนาด เท่ากัน
- ให้เด็กจับคู่ฝรั่งที่มีสีต่างกัน
- ให้เด็กจับคู่ฝรั่งที่มีสีหมือนกัน
- ให้เด็กจับคู่ฝรั่งที่ไม่มีขนาดเท่ากันการจัดประเภท
- ให้เด็กแยกฝรั่งที่มีสีเหมือนกัน
- ให้เด็กแยกฝรั่งที่มีสีไม่เหมือนกัน
- ให้เด็กแยกขนาดของฝรั่ง เล็ก- ใหญ่
การเปรียบเทียบ
- ให้เด็กเปรียบเทียบฝรั่งที่มีขนาดเล็กและฝรั่งที่มีขนาดใหญ่
-ให้เด็กเปรียบเทียบสีของฝรั่ง สีเขียว – เหลือง
- ให้เด็กเปรียบเทียบผิวของฝรั่ง ขุรขะ – เรียบ
- การจัดลำดับ
- ให้เด็กเรียงลำดับฝรั่งที่มีขนาดเล็กสุดไปหาฝรั่งที่มีขนาดใหญ่สุด
- ให้เด็กเรียงลำดับฝรั่งที่มีขนาดใหญ่สุดไปหาฝรั่งที่มีขนาดเล็กสุดรูปทรงและเนื้อที่
- ให้เด็กแยกฝรั่งที่ลักษณะกลม - เรียว
การวัด
- ให้เด็กเปรียบเทียบฝรั่งลูกไหนหนัก ลูกไหนเบากว่ากัน
- ให้เด็กวัดเส้นรอบลูกฝรั่ง ว่าแต่ละลูกมีขนาดเท่าได
เซต
- ครูบอกนักเรียนว่าฝรั่งมี 2 ประเภท คือฝรั่งธรรมดาและฝรั่งขี่นกเศษส่วนการทำตามแบบ หรือรวดราย
- ให้แด็กแยกฝรั่งที่มีผิวเรียบและผิวขุรขะออกจากกัน
- ให้เด็ก 4 คนต่อฝรั่ง 1 ลูก และแบ่งให้เท่าๆกันการอนุรักษ์
- ให้เด็กเสนอว่าจะเก็บฝรั่งแบบใดคือจะแช่อิ่ม จะดอง หรือ หรือจะเก็บไว้ในที่เย็น
วันอังคารที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2552
หน่วยผลไม้
กิจกรรมหรรษา
อุปกรณ์
1.ฝรั่ง 10 ลูก
2.ตะกร้า 4 ใบ
ขั้นตอนตอนการทำกิจกรรม
1. ครูนำฝรั่งขึ้นมา 2 ลูกและถามเด็กๆว่า เด็กรู้จักสิ่งที่ครูนำมาหรือไม่
2. ครูถามเด็กๆ ต่อไปว่า ฝรั่ง 2 ลูกนี้มีลักษณะอย่างไร
3. แบ่งนักเรียนออกเป็น 2 กลุ่มเท่า ๆ กัน
4. ครูวางข้อตกลงและกติกาการเล่นเกมโดย
4.1 ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มยืนเรียงแถวตอนลึกโดยมีตะกร้าฝรั่งวางไว้หัวแถว และวางตะกร้าเปล่าออกไป 5 เมตร
4.2 ครูเป่านกหวีดให้สัญญาณ แล้วให้เด็กคนที่อยู่หัวแถวแต่และแถวหยิบฝรั่งที่อยู่ในตะกร้าที่อยู่หัวแถวไปใส่ในตะกร้าอีกใบที่เตรียมไว้และวิ่งกับไปหัวแถวใหม่และคนที่ 2 และคนต่อ ๆ ไปก็ทำไปเรื่อยๆ จนกว่าฝรั่งจะหมดตะกร้า
4.3 ถ้าใครทำฝรั่งหลุดมือต้องวิ่งกลับมาเอาฝรั่งลูกใหม่มาใส่ตะกร้าแทน
4.4 ทีมใดนำฝรั่งใส่ตะกร้าได้หมดก่อนทีมนั้นเป็นฝ่ายชนะ
4.5 จากนั้นให้แต่ละทีมนับดูว่าฝรั่งในตะกร้าของตัวเองมีกี่ลูก
สมาชิกในกลุ่ม
1.นางสาวเกศสิณี เพิ่มญาติ
2.นางสาวจิราภรณ์ ใจกล้า
3.นางสาวสะกาวเดือน สงค์มา
4.นางสาวทิตติยา เข็มภูเขียว
ในการทำกิจกรรมนี้ทำส่งอาจารย์แล้วแต่ทำผิดอาจารย์ให้ทำส่งใหม่ค่ะ
เขียนโดย jirapon ที่ 12:18 ก่อนเที่ยง 0 ความคิดเห็น
วันเสาร์, มกราคม 10, 2009
สัปดาห์ที่ 6 ในการเรียน
งานการไปสังเกตุเด็ก โรงเรียนเกษมพิทยา เป็นเวลา 2 อาทิตย์มีเพลงคณิตศาสตร์มาฝากด้วยค่ะเพลง นับเลขนับหนึ่ง เป็นกบกระโดด นับสอง ว่ายน้ำเหมือนปลานับสาม วิ่งควบเหมือนม้า นับสี่ บินเหมือนผีเสื้อ(ร้องซ้ำ 3 รอบ)นับสี่....... นับสาม....... นับสอง....... นับหนึ่ง.......เพลง เลขาคณิตตบมือ ตบมือ ส่ายสะโพกโบกมือไปมาตบมือ ตบมือ เดินเป็นรูปสี่เหลื่ยมเดินหน้า ถอยหลังส่ายสะโพกโบกมือไปมาเดินหน้า ถอยหลัง เดินเป็นรูปวงกลมและในชั้นเรียนของเด็กๆยังมีการการเอาคณิตศาสตร์มาบูรณาการในชั้นเรียนเช่น มีการเขียนตัวเลขในวันที่ มีการนับหลอดแทนตัวเลขในวันที่นั้น
สัปดาห์ที่ 6 ในการเรียน
งานการไปสังเกตุเด็ก โรงเรียนเกษมพิทยา เป็นเวลา 2 อาทิตย์มีเพลงคณิตศาสตร์มาฝากด้วยค่ะเพลง นับเลขนับหนึ่ง เป็นกบกระโดด นับสอง ว่ายน้ำเหมือนปลานับสาม วิ่งควบเหมือนม้า นับสี่ บินเหมือนผีเสื้อ(ร้องซ้ำ 3 รอบ)นับสี่....... นับสาม....... นับสอง....... นับหนึ่ง.......เพลง เลขาคณิตตบมือ ตบมือ ส่ายสะโพกโบกมือไปมาตบมือ ตบมือ เดินเป็นรูปสี่เหลื่ยมเดินหน้า ถอยหลังส่ายสะโพกโบกมือไปมาเดินหน้า ถอยหลัง เดินเป็นรูปวงกลมและในชั้นเรียนของเด็กๆยังมีการการเอาคณิตศาสตร์มาบูรณาการในชั้นเรียนเช่น มีการเขียนตัวเลขในวันที่ มีการนับหลอดแทนตัวเลขในวันที่นั้น
วันพุธที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2552
หลักการสอนคณิตศาสตร์
ครูปฐมวัยที่ดีนอกจากจะเข้าใจพัฒนาการเด็กธรรมชาติของการเรียนรู้
1.สอนให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน
2.เปิดโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ที่ทำให้พบคำตอบด้วยตนเอง
3.มีเป้าหมายและการวางแผนอย่างดี
4.เอาใจใส่ในเรื่องการเรียนรู้และลำดับขั้นของการพัฒนาความคิดรวบยอดของเด็ก
5.ใช้วิธีการจดบันทึกพฤติกรรมหรืระเบียบพฤติการณ์เพื่อใช้ในการวางแผนและจัดกิจกรรม
6.ใช้ประโยชน์จากประสบการณ์เมของเด็ก
7.รู้จักใช้สถานการณ์ขณะนั้นให้เป็นประโยชน์
8.ใช้วืธีการสอดแทรกกับชีวิตจริงเพื่อสอนความคิดรวบยอดยากๆ
9.
ครูปฐมวัยที่ดีนอกจากจะเข้าใจพัฒนาการเด็กธรรมชาติของการเรียนรู้
1.สอนให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน
2.เปิดโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ที่ทำให้พบคำตอบด้วยตนเอง
3.มีเป้าหมายและการวางแผนอย่างดี
4.เอาใจใส่ในเรื่องการเรียนรู้และลำดับขั้นของการพัฒนาความคิดรวบยอดของเด็ก
5.ใช้วิธีการจดบันทึกพฤติกรรมหรืระเบียบพฤติการณ์เพื่อใช้ในการวางแผนและจัดกิจกรรม
6.ใช้ประโยชน์จากประสบการณ์เมของเด็ก
7.รู้จักใช้สถานการณ์ขณะนั้นให้เป็นประโยชน์
8.ใช้วืธีการสอดแทรกกับชีวิตจริงเพื่อสอนความคิดรวบยอดยากๆ
9.
ความรู้สึกที่อยากจะบอก
ตอนนี้เรียนยากมากงานก็เยอะทำอะไรไม่ค่อยจะทันเลย
อยากจะบอกว่าไม่เคยเข้าเรียนเลยทำงานไม่ทันเพื่อน
อยากจะบอกว่าไม่เคยเข้าเรียนเลยทำงานไม่ทันเพื่อน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)